HFRR All-in-One
We are pleased to introduce the 2024 HFRR All-in-One where its combined cabinet, PC and electronics unit all controlled from […]
We are pleased to introduce the 2024 HFRR All-in-One where its combined cabinet, PC and electronics unit all controlled from […]
ความสำคัญของการทดสอบ ซัลเฟอร์และไนโตรเจน การทดสอบกำมะถันรวมและไนโตรเจนในวัสดุต่างๆ สามารถทำการทดสอบได้ด้วยเครื่อง ElemeNtS เช่น แก๊ส ของเหลว ของเหลวหนืด และของแข็ง มีความสำคัญด้วยเหตุผลหลายประการ 1. การปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อม ปริมาณกำมะถัน : ปริมาณกำมะถันที่สูงในเชื้อเพลิงและวัสดุอื่นๆ อาจทำให้เกิดซัลเฟอร์ออกไซด์ (SOx) เมื่อถูกเผาไหม้ ซึ่งส่งผลให้เกิดฝนกรด
เราอาจจะเคยได้ยินว่า การบริโภค อาหาร ต่างๆ ให้ค่าพลังงานกี่แคลลอรี่ นั่นคือ ปฏิกริยาการเผาไหม้ภายในร่างกายจะให้พลังงานออกมาเท่าไหร่ ซึ่งสามารถวัดได้จาก เครื่องมือวัด ที่เรียกว่า Bomb Calorimeter แท้จริงแล้ว สสารทุกชนิด สามารถให้ค่าพลังงานได้ จากการเผาไหม้ ได้เช่นกัน ซึ่งพลังงานจากการเผาไหม้เหล่านี้เอง เรียกว่า ค่าพลังงานความร้อน
Tribology คือ อะไร Tribology คือ วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ของความสำคัญระหว่าง แรงเสียดทาน (Friction) การสึกหรอของชิ้นงาน (Wear) และ การหล่อลื่น (Lubrication) หรือ การศึกษาแรงเสียดทาน การสึกหรอ และการหล่อลื่นระหว่างพื้นผิวที่เคลื่อนที่ สาขานี้มีความสำคัญอย่างยิ่งในการทำความเข้าใจว่าวัสดุมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างไรเมื่อสัมผัสกัน ซึ่งส่งผลต่อทุกสิ่งตั้งแต่ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ไปจนถึงความทนทานของอุปกรณ์ปลูกถ่ายทางการแพทย์ ไตรโบโลยีใช้หลักการจากฟิสิกส์
เติมน้ำมันรถผิด ส่งผลเสียอย่างไร รู้หรือไม่ รถแต่ละรุ่นถูกออกแบบโครงสร้างและเครื่องยนต์มาแตกต่างกัน ในขณะที่น้ำมันแต่ละชนิดก็มีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน ดังนั้นหาก เติมน้ำมันรถผิด น้ำมันที่ไม่เหมาะสมกับเครื่องยนต์ ก็จะส่งผลต่างๆได้ เช่น การเติมแก๊สโซลีนกับดีเซลสลับกัน: เนื่องจากน้ำมันดีเซลและแก๊สโซลีน มีคุณสมบัติการเผาไหม้และการระเหยไม่เท่ากัน ก็จะทำให้จังหวะลูกสูบของเครื่องยนต์สะดุด หรือไม่สามารถทำงานต่อได้ในที่สุด การเติม E20, E85 ในเครื่องยนต์ G91,
FTIR (Fourier Transform Infrared Spectroscopy) คือ เทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบของสารด้วยการใช้แสงอินฟราเรด ในการวิเคราะห์และระบุชนิดของสาร โดยเฉพาะสารอินทรีย์และโพลีเมอร์ สามารถตรวจสอบอะไรได้บ้าง ใช้ในการวิเคราะห์ได้ดังนี้ 1.การสร้างสเปกตรัมเฉพาะ FTIR ใช้รังสีอินฟราเรดในการตรวจสอบตัวอย่าง โดยรังสีนี้จะถูกดูดซับโดยกลุ่มฟังก์ชันในโมเลกุลของสารที่มีอยู่ในตัวอย่าง ทำให้เกิดสเปกตรัมที่เป็นเอกลักษณ์หรือ “fingerprint” ของสารนั้นๆ สเปกตรัมนี้สามารถใช้เปรียบเทียบกับฐานข้อมูลสเปกตรัมที่มีอยู่เพื่อระบุชนิดของสาร 2.การวิเคราะห์ตัวอย่างที่หลากหลาย FTIR
อุตสาหกรรมแอสฟัลต์ (Asphalt Industry) เป็นส่วนสำคัญของการก่อสร้างถนนและโครงสร้างพื้นฐานทั่วโลก แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูง ด้วยความจำเป็นที่ต้องลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การค้นหาวิธีการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอุตสาหกรรมแอสฟัลต์จึงกลายเป็นเป้าหมายที่สำคัญ หนึ่งในแนวทางสำคัญคือการมุ่งสู่การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ หรือ Net Zero การปล่อยมลพิษคาร์บอนจากอุตสาหกรรมแอสฟัลต์มาจากหลายแหล่ง รวมถึงการผลิตแอสฟัลต์เอง การขนส่งสินค้า และการลงแอสฟัลต์บนถนน โดยการผลิตแอสฟัลต์เป็นแหล่งปล่อยมลพิษคาร์บอนมากที่สุด เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเป็นศูนย์คาร์บอนอุตสาหกรรมแอสฟัลต์ต้องมีการทำงานร่วมกันระหว่างอุตสาหกรรม รัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการปรับปรุงกระบวนการผลิตและการลงแอสฟัลต์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
แอสฟัลต์และบิทูเมน (Asphalt and Bitumen) เป็นวัสดุที่สำคัญและนิยมใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้างถนนและโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆ ทั้งสองมีคุณสมบัติและการใช้งานที่แตกต่างกันไป แต่หลายคนอาจสับสนระหว่างสองคำนี้ ในบทความนี้ เราจะสำรวจและเปรียบเทียบคุณสมบัติที่สำคัญของแอสฟัลต์และบิทูเมน เพื่อให้เข้าใจและเลือกใช้ได้ถูกต้องตามความต้องการ แอสฟัลต์คืออะไร? แอสฟัลต์ (Asphalt) คือวัสดุที่ประกอบด้วยบิทูเมนเป็นส่วนประกอบหลัก โดยแอสฟัลต์ที่ใช้ในงานก่อสร้างถนนส่วนใหญ่จะเป็นแอสฟัลต์คอนกรีต (Asphalt Concrete) ซึ่งประกอบด้วยบิทูเมนผสมกับหินและทรายทำให้มีคุณสมบัติที่แข็งแรงและทนทาน แอสฟัลต์มีคุณสมบัติในการยึดเกาะที่ดี ทำให้เหมาะสมกับการใช้งานในพื้นที่ที่ต้องการรับน้ำหนักมาก บิทูเมนคืออะไร?
CH would like to extend our gratitude for your participation in our seminar, “Navigating the Future of Aviation: Challenges and
สืบเนื่องจากบทความก่อน ที่กล่าวถึง SAF (Sustainable Aviation Fuel) ว่ามีความสำคัญต่อ Net Zero และนโยบายด้านพลังงานที่ยังยืนอย่างไรนั้น บทความนี้จะกล่าวถึง การคำนวณ Carbon Credit จากการใช้ SAF ตามโครงการ CORSIA (Carbon Offsetting